การประชุมเกริกวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 20

นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อสังคมที่ยั่งยืน
Innovation and Technology for a Sustainable Society

รายละเอียดการประชุม

เครือข่ายทางวิชาการสถานที่จัดการประชุม

  • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร
  • สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
  • วิทยาลัยอินเตอร์เทคลำปาง
  • NANYANG INSTITUTE OF MANAGEMENT
  • Alliance of Islamic Universities of Africa (AIUA)

      วันเสาร์ที่ 14 ธันวาคม 2567 ณ ศูนย์ประชุมวิชาการนานาชาติ มหาวิทยาลัยเกริก แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร

 

รูปแบบและขอบข่ายของผลงานที่นำเสนอ

ผู้แสดงปาฐกถา (Keynote Speaker)

นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา

ประธานสภาผู้แทนราษฎร

ผู้บรรยายพิเศษ (Keynote Speaker)

 Prof. Liu Zhenping

Vice-Dean, School of International Education of Nanning Normal University

Prof. Dato’ Dr. Wan Sabri Bin Wan Yusof

Vice Chancellor of Universiti Sultan Azlan Shah University, Malaysia

Professor Dr. Haji Abdul Hafidz bin Haji Omar

Dean of Faculty of Islamic Technology, Universiti Islam Sultan Sharif Ali (UNISSA) Brunei Darussalam

 

2. การนำเสนอผลงานวิจัยภาคบรรยาย (Oral Presentation) และผลงานภาคนิทรรศการ (Poster Presentation) โดยแบ่งกลุ่มสาขาวิชา ดังนี้

  1. นิติศาสตร์
  2. ศึกษาศาสตร์
  3. เศรษฐศาสตร์
  4. ศิลปศาสตร์
  5. นิเทศศาสตร์
  6. บริหารธุรกิจ
  7. สาธารณสุขศาสตร์
  8. มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
  9. รัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์
  10. ภาษาจีนธุรกิจและการสอนภาษาจีน
  11. ศิลปและวัฒนธรรมจีน
  12. อิสลามศึกษาและบริหารธุรกิจอิสลาม

แผนและปฏิทินการจัดโครงการ

วัน/เดือน/ปี

รายการ

1 ตุลาคม 2567

เปิดรับบทความ

25 พฤศจิกายน 2567

วันสุดท้ายของการรับบทความ

2 ธันวาคม 2567

แจ้งผลการประเมินเพื่อผู้เขียนแก้ไขบทความ

6 ธันวาคม 2567

วันสุดท้ายของการส่งบทความฉบับแก้ไขแล้ว 1 ชุด พร้อมไฟล์บทความ (.docx+.pdf)

14 ธันวาคม 2566

นำเสนอผลงาน ในการประชุมเกริกวิชาการระดับชาติ
(1)   นำเสนอแบบ Oral Presentation โดยใช้ PowerPoint Presentation (10 นาที)
(2)   นำเสนอแบบ Poster ขนาด .90×1.4 m. (ผู้เขียนจัดเตรียมข้อมูลและจัดทำ Poster กระดาษ PP)

หลักเกณฑ์การส่งบทความเพื่อนําเสนอในการประชุมเกริกวิชาการระดับชาติ และนานาชาติ

  1. ความยาวบทความจะต้องไม่เกิน 15 หน้า A4 หากเป็นโปสเตอร์จะต้องมีขนาด .90 x 1.4 ม.
  2. การนำเสนอผลงานแบบ Oral จะใช้ PowerPoint Presentation เป็นเวลา 10 นาที
  3. การนำเสนอผลงานแบบ Poster ผู้เขียนจะต้องจัดเตรียมข้อมูลและจัดทำ Poster ด้วยตนเอง รวมทั้งนำเสนอผลงานในช่วงเวลาที่กำหนด
  4. บทความที่ส่งมาต้องเขียนให้อยู่ในรูปแบบที่มหาวิทยาลัยเกริกกำหนดเท่านั้น (รูปแบบและการเขียนเอกสารอ้างอิง)
  5. บทความจะต้องเป็นบทความต้นฉบับซึ่งไม่เคยตีพิมพ์เผยแพร่ต่อสาธารณะมาก่อน และไม่ผิดจริยธรรมทางวิชาการ เช่น การลอกเลียนผลงาน การส่งต้นฉบับซ้ำหลายครั้ง เป็นต้น

หลักเกณฑ์การเสนอบทความ

  1. ผู้เขียนต้องชำระค่าธรรมเนียมพร้อมการส่งบทความ
  2. บทความที่ส่งมาต้องเขียนให้อยู่ในรูปแบบที่มหาวิทยาลัยเกริกกำหนดเท่านั้น (รูปแบบและการเขียนเอกสารอ้างอิง)
  3. ผู้เขียนต้องส่งเอกสาร 1) แบบฟอร์มการส่งบทความ 2) ใบโอนเงิน และ 3) บทความ มาที่ conf.krirk.ac.th/#submission เท่านั้น โดยไม่รับพิจารณาบทความที่ส่งทางไปรษณีย์หรือช่องทางอื่น ๆ
  4. ระยะเวลาที่ใช้ในกระบวนการตั้งแต่รับบทความจนผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความเสร็จ โดยประมาณ 60 วัน
  5. ผู้เขียนจะได้รับหนังสือตอบรับการตีพิมพ์เมื่อกองบรรณาธิการได้รับบทความที่ผู้เขียนแก้ไขตามข้อเสนอแนะจากผู้ทรงคุณวุฒิหลังจากการประเมินผ่านแล้วเท่านั้น
  6. ผู้เขียนจะต้องเข้าร่วมนำเสนอผลงานในที่วันที่กำหนดจัดเท่านั้น
  7. ขอสงวนสิทธิ์ในการรับพิจารณาเฉพาะบทความที่ส่งมาตามหลักเกณฑ์นี้เท่านั้น
  8. บทความที่จะได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในเล่มรายงานการประชุมจะต้องผ่านการประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เขียนจะต้องเข้าร่วมนำเสนอในการประชุมเกริกวิชาการทั้งแบบ Oral Presentation และ Poster

การส่งบทความเสนอขอรับการประเมินในรายงานสืบเนื่องจากการประชุม (Proceeding)

  1. เป็นบทความตามสาขาที่กำหนดไว้
  2. ต้องเป็นบทความที่ไม่เคยตีพิมพ์หรือเผยแพร่ในแหล่งอื่น ๆ มาก่อน
  3. ผู้เขียนจะต้องส่งต้นฉบับเป็นไฟล์อิเล็กทรอนิกส์โดย
    – พิมพ์ลงในโปรแกรม Microsoft word ความยาวไม่เกิน 15 หน้า (A4)
    – อักษร Cordia New /ขนาดอักษร 16 point (ทั้งภาษาไทยและอังกฤษ)
    – กำหนดระยะขอบกระดาษทั้ง 4 ด้านคือ 2.54 เซนติเมตรหรือ 1 นิ้ว (บน-ล่าง / ซ้าย- ขวา)
  4. รูปแบบการเขียนบทความ ควรเขียนเชิงพรรณาความ หากเป็นบทความที่มาจากงานวิจัยต้องเป็นการเขียนใหม่ โดยนำประเด็นสำคัญมานำเสนอ และใช้รูปแบบการเขียนที่ไม่ใช่เป็นการย่อจากงานวิจัย โดยดาวน์โหลดรายละเอียดได้ที่ – Download แบบฟอร์มการส่งบทความและการจัดหน้ากระดาษ

การลงทะเบียน

ผู้เขียนชำระค่าธรรมเนียมตามเงื่อนไงต่อไปนี้

  1. ชำระค่าธรรมเนียมโดยจ่ายผ่านธนาคารกรุงไทย ชื่อบัญชี มหาวิทยาลัยเกริก เลขที่บัญชี 060-1-065018 กรุณาระบุตามประเภท ดังนี้

    ประเภท

    นศ. ม.เกริก

    บุคคลมหาวิทยาลัย
    เครือข่าย

    บุคคลทั่วไป

    นานาชาติ

    1) บทความ (ไม่เกิน 15 หน้า A4)

    1,000 บาท

    1,500 บาท

    2,000 บาท

    4,000 บาท

    2) โปสเตอร์ (ขนาด .90 x 1.4 m.)

    1,700 บาท

    2,200 บาท

    2,700 บาท

    4,700 บาท

  2. หลังจากชำระค่าธรรมเนียมแล้วกรุณาส่งเอกสารทั้ง 3 รายการ มาที่
    1) ข้อมูลตามแบบฟอร์มการส่งบทความ (ไฟล์ .docx และ .pdf)
    2) ใบโอนเงิน (ไฟล์ .pdf)
    3) บทความ (ไฟล์ .docx และ .pdf)

หมายเหตุ :

       1. ผู้เขียนไม่สามารถขอคืนค่าธรรมเนียมได้ในทุกกรณี (กรุณาศึกษารายละเอียดก่อนส่งบทความ)
       2. ผู้ส่งบทความสังกัดมหาวิทยาลัยเกริกทั้งอาจารย์และนักศึกษากรุณาติดต่อและส่งบทความที่คณะของตนเอง
       3. เจ้าของบทความจำเป็นต้องส่งบทความเข้ามาด้วยตนเองเท่านั้น

***กรุณาศึกษารายละเอียดก่อนส่งบทความเข้าร่วมงานประชุมเกริกวิชาการระดับชาติและนานาชาติ***

แบบฟอร์มการส่งบทความเกริกวิชาการ 2567

ประเภท

นศ. ม.เกริก

บุคคลมหาวิทยาลัยเครือข่าย

บุคคลทั่วไป

1) บทความ (ไม่เกิน 15 หน้า A4)

 1,000 บาท

 1,500 บาท

 2,000 บาท

2) โปสเตอร์ (ขนาด .90 x 1.4 m.)

 1,700 บาท

 2,200 บาท

 2,700 บาท

     * บุคคลภายนอก (ภาคี) หมายถึง บุคลากรของสถาบันเครือข่ายที่ร่วมจัดการประชุมฯ

วิธีการชำระค่าลงทะเบียน

  1. ชำระค่าธรรมเนียมโดยจ่ายผ่านธนาคารกรุงไทย ชื่อบัญชี มหาวิทยาลัยเกริก เลขที่บัญชี 060-1-06501-8
  2. หลังจากชำระค่าธรรมเนียมเรียบร้อยแล้ว โปรดนำส่งแบบฟอร์มการส่งบทความ ใบโอนเงิน และบทความมาที่อีเมล submission@email.krirk.ac.th

หมายเหตุ :

  1. ผู้เขียนไม่สามารถขอคืนค่าธรรมเนียมได้ในทุกกรณี
  2. ผู้เขียนที่สังกัดมหาวิทยาลัยเกริกทั้งอาจารย์และนักศึกษา กรุณาติดต่อและส่งบทความที่คณะวิชาที่ท่านสังกัดอยู่หรือนำส่งผ่านอาจารย์ที่ปรึกษา
  3.  

การส่งบทความ

ปิดรับบทความ

Conference 2024 - TH (Standard)

กำหนดการ

การประชุมเกริกวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ประจำปี พ.ศ.2566 ครั้งที่ 19
 “นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อสังคมที่ยั่งยืน”
วันเสาร์ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ.2566
ณ มหาวิทยาลัยเกริก ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร

เวลา

รายการ

08.00 – 08.30 น.

ลงทะเบียน

08.30

ผู้นำเสนอผลงานวิชาการแบบโปสเตอร์เข้าประจำ ณ ป้ายแสดงนิทรรศการ บริเวณหน้าศูนย์ประชุมนานาชาติ อาคาร ดร.เกริก อาคาร 2

08.30 – 09.00 น.

คณะกรรมการจัดงานฯ เชิญประธานเข้าชมนิทรรศการและโปสเตอร์ ณ ศูนย์ประชุมวิชาการนานาชาติ อาคาร ดร.เกริก อาคาร 2

09.00 – 09.15 น.

พิธีเปิด การประชุมเกริกวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 19 ประจำปี พ.ศ. 2566ณ ศูนย์ประชุมวิชาการนานาชาติ เรื่อง “การพัฒนาวิถีใหม่เพื่อสังคมที่ยั่งยืน”

  • กล่าวรายงานโดย รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ รองศาสตราจารย์ สุพัฒน์ ธีรเวชเจริญชัย

09.15 – 10.00 น.

เปิดงานและปาฐกถาพิเศษ หัวข้อ “การพัฒนาวิถีใหม่ เพื่อสังคมที่ยั่งยืน” โดย นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา ประธานสภาผู้แทนราษฎร

 10.00 – 10.30 น.

การบรรยายพิเศษ 

10.30 – 11.00 น.

การบรรยายพิเศษ 

11.00 – 11.30 น.

การบรรยายพิเศษ 

11.30 – 12.30 น.

การนำเสนอความก้าวหน้างานวิจัยเพื่อท้องถิ่น 3 เรื่อง ทุนวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติและมหาวิทยาลัยเกริก

12.30 – 13.30 น.

พักรับประทานอาหารกลางวัน

13.30 – 17.00 น.

การนำเสนอผลงานวิชาการของอาจารย์ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และบุคคลภายนอก

ติดต่อเรา​

สําหรับบุคคลภายนอก

ประเภทของบทความ

หน่วยงาน

เบอร์ติดต่อภายใน

ภาษาไทย

สถาบันวิจัยและนวัตกรรม

ต่อ 402

ภาษาอังกฤษ

อาจารย์อลงกรณ์ อาชะวะบูล

ต่อ 430

ภาษาจีน

วิทยาลัยนานาชาติ

ต่อ 424

 

วิทยาลัยนานาชาติภาษาและวัฒนธรรมจีน

ต่อ 230

ภาษาอาหรับ

อาจารย์สราวุธ และซัน

ต่อ 640,641

 

สําหรับนักศึกษา และอาจารย์มหาวิทยาลัยเกริก

คณะ

ผู้ดูแลการรับ-ส่งบทความ

เบอร์โทรศัพท์

เบอร์ติดต่อภายใน

คณะบริหารธุรกิจ

ผศ.ดร.ณัฐพร ฉายประเสริฐ

ต่อ 225 หรือ 215

คณะศิลปศาสตร์

ผศ.ดร.บุญอยู่ ขอพรประเสริฐ

ต่อ 650

คณะนิติศาสตร์

อาจารย์ ดร. ปัญม์ณิสาธ์ องค์ปรัชญากุล

ต่อ 227

วิทยาลัยนานาชาติ

วิทยาลัยนานาชาติ

ต่อ 424

วิทยาลัยนานาชาติภาษาและวัฒนธรรมจีน

นางสาว ปานฝัน  จิตรอักษร

ต่อ 230

วิทยาลัยนานาชาติอิสลามกรุงเทพ

วิทยาลัยนานาชาติอิสลามกรุงเทพ

ต่อ 641

Scroll to Top